Monday, September 20, 2010

Ion Equilibrium of Weak Electrolyte Solution (กรด-เบส) Contents

Table of Contents


0.1 Solubility
0.2 Rate of Reaction 
0.3 Chemical Equilibrium
0.4 Introduction 

1.1 นิยามของกรดเบส
1.2 คู่กรด-คู่เบส
1.3 ความแรงของกรด-เบส
การพิจารณาความแรงโดยดูจากโครงสร้าง
1.4 ตัวอย่างและประเภทของกรดและเบส

2.1 pH & pOH
2.2 pH Indicators
การเปลี่ยนสีของ Indicators
หลักการทำงาน
ค่า Ka ของ Indicator
ช่วง pH กับ Ka

3.1 Ka & Kb
3.2 การหา [H3O+] และ [OH-] จากสมดุลเคมี
3.3 Water & Hydrolysis
Kw of Water
Ka และ Kb ของคู่กรดเบส
Hydrolysis
3.4 Polyprotic
Questions ท้ายบท

4.1 ปฏิกิริยาระหว่างกรดเบส 
เกลือ (Salts)
4.2 Buffer Solution
การพิจารณาเป็น Buffer
การผสมสารละลาย Buffer  
4.3 Titration
Questions ท้ายบท       

What is in this blog?

 

Sunday, September 19, 2010

Ion Equilibrium of Weak Electrolyte Solution (กรด-เบส) Chapter 4

4. Multi - Acids & Bases

ในบทที่ผ่านๆมา เราจะกล่าวถึงกรดหรือเบสแต่ละตัวเมื่อละลายน้ำ แต่ในบทนี้จะพิจารณาเมื่อมีทั้งกรดและ/หรือเบสหลายๆชนิดพร้อมๆกัน ซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยากัน เกิดเป็นสมดุลหลายๆสมดุลรบกวนกันไปมา หรืออาจไม่เกี่ยวข้องกันก็ได้

หลักในการมอง
ในบทเรียนทั่วๆไปอาจมีการจำแนกลักษณะปฏิกิริยา การผสมกัน เป็นประเภทหลายๆแบบ แต่ในที่นี้เราจะไม่มองเช่นนั้น แต่มองเป็น Animation ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา โดยอธิบายจากสมดุล
1. สารประเภทที่ละลายน้ำหรือกรดแก่เบสแก่ ให้มองเป็ฺนสารหลังแตกตัวละลายอยู่เสมอ
2. เมื่อเรารุ้ทุกอย่างที่ละลายในน้ำ นำมาคิดต่อในสมดุลทุกอย่างที่จำเป็นต้องใช้ (สารบางอย่างอาจไม่ทำปฏิกิริยาหรือสมดุลไรต่อ ก็ตัดทิ้งไปได้)
3. ภายหลังเลื่อนปฏิกิริยาจนได้จุดสมดุล จึงสรุป

Ion Equilibrium of Weak Electrolyte Solution (กรด-เบส) Chapter 3


บทนี้เป็นบทหลักในการคำนวณหา [H+] (หรือ [H3O+]) และ [OH-] เพื่อรายงานค่าเป็น pH ให้ได้


3.1 Ka & Kb
เมื่อเรานำกรดอ่อนชนิดหนึ่งไปละลายน้ำ
HA + H2O <---> A- + H3O+
จะเกิดสมดุลขึ้น มีค่าคงที่สมดุลคือ [A-][H3O+] / [HA][H2O]
แต่เนื่องจากในปฏิกิริยา มี [H2O] อยู่เยอะมาก (ลองคิดดูโดยสมมติน้ำหนาแน่น 1kg/L และ 1molH2O = 18g จะได้ [H2O]=55.55 M) แม้สมดุลจะเป็นอย่างไร [H2O] จึงเปลี่ยนแปลงน้อยมาก เราจึงถือว่า [H2O] เป็นค่าคงตัว
ดังนั้นจึงนิยามใหม่เป็น

Ion Equilibrium of Weak Electrolyte Solution (กรด-เบส) Chapter 2

2. pH & pH Indicators

เราทราบการแตกตัวของกรดและเบสแล้ว จะเห็นได้ว่าการแตกตัวนั้นมีความสัมพันธ์กับ H+ และ OH- อย่างมาก ในบทนี้เป็นการให้นิยามความหมายของ pH และรู้จักกับ pH Indicator ซึ่งจะใช้ในการรายงานความเป็นกรดเป็นเบสในบทถัดๆไปได้


2.1 pH & pOH
ในสารละลายกรดหรือเบส เราจะพบ H+ (หรือ H3O+ ก็ได้ เป็็นอย่างเดียวกัน) และ OH- ละลายอยู่ในปริมาณหนึ่ง ปริมาณนี้มักเป็นปริมาณที่น้อย เช่น มี H+ ละลายอยู่ 1.4*10^-4 M (molar) เป็นต้น หากต้องรายงานผลเป็นเลขยกกำลังติดลบเช่นนี้ตลอดเวลาจะเป็นการยุ่งยาก จึงมีการนิยาม pH (Power of Hydrogen) ว่า

Ion Equilibrium of Weak Electrolyte Solution (กรด-เบส) Chapter 1

1. Acids and Bases



ในบทนี้จะเป็นการทำความรู้จักกับกรดเบสก่อนว่าคืออะไร ความแรงหมายถึงอะไร ดูได้อย่างไร พร้อมตัวอย่างและการแบ่งประเภท



- อาร์เรเนียส ได้ให้นิยามว่า กรดละลายน้ำแล้วให้ H+ ส่วนเบสละลายน้ำแล้วให้ OH-
ข้อจำกัด : สารต้องละลายน้ำ และหากไม่มี H หรือ OH ในสารก็จะไม่ได้สามารถบอกได้

- เบรินเสตด-ลาวรี มองการนิยามกรด-เบส จากสมดุล
HA + B <---> A- + BH+ 
โดยให้นิยามว่า

Ion Equilibrium of Weak Electrolyte Solution (กรด-เบส) Chapter 0

0. Basics & Introduction

บทนี้จะเป็นการปูพื้นฐานในเรื่องที่จำเป็นก่อนเข้าสู่เนื้อหาจริง



การพิจารณาการละลายในที่นี้ จะพิจารณาเฉพาะสารประกอบไอออนิกที่ละลายในน้ำ สิ่งที่ควรทราบคือ สารประกอบจะละลายน้ำ ถ้า